Page 42 - Annual Report 2014
P. 42

การเปลี่ยนแปลงของวัฒนธรรมตลอดจนการติดต่อ
                                                                      สื่อสารเพื่อเตรียมตัวเป็นเจ้าบ้านที่ดีในยุคของ  AEC
                                                                      ซึ่งมีผู้สนใจเข้าร่วมสัมมนาจำานวนทั้งสิ้น  65  คน  ครั้ง
                                                                      ที่  2  หัวข้อ  Episode2  “บทบาทในปัจจุบันของ
                                                                      ประเทศมหาอำานาจและภูมิภาครอบบ้านประเทศ
                                                                        ไทยจะนำารัฐนาวาไปสู่ทิศทางใด?” เมื่อวันที่ 2 สิงหาคม

                    2557  เพื่อสร้างความเข้าใจที่ดีถึงบทบาทและการเคลื่อนไหวของประเทศมหาอำานาจต่างๆ  รวมถึงความสำาคัญทาง
                    ยุทธศาสตร์ของพื้นที่ต่างๆ ในโลก โดยมีผู้เข้าร่วมสัมมนาจำานวนทั้งสิ้น 30 คน และครั้งที่ 3 หัวข้อ Episode 3 “รู้เขา รู้เราอ่าน
                    ความคิด ด้วยเทคนิคภาษากาย” จัดขึ้นในวันที่ 6 กันยายน 2557 เพื่อมุ่งเน้นให้ผู้ฟังบรรยายได้เรียนรู้เทคนิคการรู้จักตนเอง
                    และการอ่านใจคนรอบข้าง ซึ่งเหมาะสำาหรับผู้ที่ต้องการประสบความสำาเร็จในชีวิต

                    กิจกรรมสร้างความร่วมมือเพื่อพัฒนาชุมชน


                           วิทยาลัยฯ ได้สร้างความร่วมมือกับ มูลนิธิแม่ฟ้าหลวง ในพระบรมราชูปถัมภ์ ภายใต้ชื่อ “โครงการความร่วมมือ
                    ระหว่าง  มูลนิธิแม่ฟ้าหลวง  ในพระบรมราชูปถัมภ์  และ  วิทยาลัยการจัดการ  มหาวิทยาลัยมหิดล  ในการพัฒนาคนใน
                    ชุมชน โครงการพัฒนาดอยตุงฯ เพื่อให้เกิดธุรกิจชุมชนที่ยั่งยืน” ซึ่งมีแนวคิดที่จะพัฒนาศักยภาพคนในชุมชน โดยการเพิ่ม
                    ทักษะพื้นฐานด้านการจัดการธุรกิจชุมชนให้กับคนในชุมชน ตัวแทนพ่อค้าในพื้นที่จังหวัดเชียงราย และบุคลากรของมูลนิธิแม่
                    ฟ้าหลวงฯ ที่เกี่ยวข้อง ผ่านรูปแบบการอบรม เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ ทักษะด้านการบริหารจัดการ การ
                    เงิน การลงทุน บัญชี และการตลาดขั้นพื้นฐาน เป็นการเปิดโอกาสทางเศรษฐกิจ และพัฒนาศักยภาพชุมชน เพื่อการต่อยอด

        42          ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้วยการบริหารจัดการที่เหมาะสม นำาไปสู่การสร้างรูปแบบธุรกิจชุมชนที่ยั่งยืนให้กับชุมชน
                           วิทยาลัยฯ  ได้แบ่งการดำาเนินการออกเป็น  2  ระยะ  ระยะแรกเป็นการอบรมเจ้าหน้าที่มวลชน  เจ้าหน้าที่พัฒนา
                    สังคม  ของมูลนิธิแม่ฟ้าหลวงฯ  เพื่อให้มีความรู้  ความเข้าใจในองค์ความรู้ด้านการบริหารจัดการ  การเงิน  การลงทุน  บัญชี
                    และการตลาดขั้นพื้นฐานโดยรวม ซึ่งมีเป้าหมายเพื่อให้กลุ่มของผู้เข้ารับการอบรมมีความเข้าใจองค์ความรู้และเตรียมพร้อม

                    ในการเป็นพี่เลี้ยงให้แก่คนในชุมชนต่อไปได้  ส่วนระยะที่สองนั้น  วิทยาลัยฯ  จะดำาเนินการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการให้กับ
                    ชุมชน  ตัวแทนชาวบ้านในชุมชนเป็นลำาดับต่อไป  หัวข้อการอบรมที่ได้ดำาเนินการอบรมไปเมื่อวันที่  10-11  กันยายน  2557
                    คือ  “การบัญชีขั้นพื้นฐาน”  โดย  อาจารย์กิตติชัย  ราชมหา  ซึ่งเป็นการสร้างความเข้าใจในการคิดต้นทุน  การกำาหนดราคา
                    การลงบัญชี  รายรับ-รายจ่ายเบื้องต้น  และวันที่  24-25  กันยายน  2557  ได้ดำาเนินการอบรมในหัวข้อ  “การตลาด”
                    โดย อาจารย์บุริม โอทกานนท์ เป็นการสร้างความเข้าใจในเรื่องการตลาด และช่องทางการจัดจำาหน่าย เพื่อเปิดโอกาสและ
                    เปิดมุมมองการทำาการตลาดของภาคธุรกิจ  ผลการประเมินความพึงพอใจผู้เข้ารับการอบรม  ได้ค่าคะแนนเฉลี่ย  4.60  และ
                    4.80 จาก 5.00 ตามลำาดับหัวข้อการอบรมที่กล่าวมาในข้างต้น

                    กิจกรรมรับผิดชอบต่อสังคมและสาธารณประโยชน์

                           วิทยาลัยฯ ได้วางแผนจัดกิจกรรมเพื่อสร้างสรรคคุณประโยชน์ให้กับสังคม โดยให้นักศึกษาตลอดจนบุคลากรของ
                    วิทยาลัยฯ  ได้ร่วมกันสร้างกระบวนการความเข้าใจในการปฏิบัติกิจจิตอาสา  บำาเพ็ญตนให้เป็นประโยชน์  แสดงความ
                    รับผิดชอบต่อชุมชนและสังคม โดยได้เล็งเห็นถึงความสำาคัญในเรื่องของการสร้างปัจจัยเสริมที่เข้ามาช่วยขัดเกลาจิตใจของ

                    นักศึกษาและผู้ปฏิบัติให้เกิดความเมตตา  กรุณา  ความเสียสละ  และจิตสาธารณะ  ตลอดจนสร้างสรรค์ให้สังคมอยู่
                    ร่วมกันอย่างมีความสุข ซึ่งได้จำาแนกกิจกรรมออกเป็น 2 กิจกรรมย่อยตามความสามารถและความสนใจของจิตอาสา ดังนี้
   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47